ตารางธาตุ ตอนที่ 3 แบบฝึกหัด สำหรับตอนที่ 1-2
แบบฝึกหัด
1.(Ent.41)
อะตอมใดมีขนาดใหญ่ที่สุด
1. 17Cl 2. 6C 3. 35Br 4. 32Ge
2.(Ent.42มี.ค.)
จากตารางข้อใดผิด
1.ธาตุ
A นำไฟฟ้าได้ดี 2.ธาตุ
B มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2
3.
ธาตุ
C มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงมาก 4.
ธาตุ D มีสมบัติเป็นโลหะมากกว่า E
3 (Ent.42 ต.ค.) กำหนดสัญลักษณ์ (สมมติ) และเลขเชิงอะตอมของธาตุต่อไปนี้
26a 35b 37c 42d 56e ธาตุในข้อใดเป็นธาตุอัลคาไลน์เอิร์ธ
เฮโลเจน และแทรนซิชัน ตามลำดับ
|
ธาตุอัลคาไลน์เอิร์ธ
|
เฮโลเจน
|
แทรนซิชัน
|
1.
|
d
|
a b
|
c e
|
2.
|
d e
|
a
|
c b
|
3.
|
a c
|
d e
|
b
|
4.
|
d a
|
e
|
b
|
4. (Ent.42มี.ค.) ธาตุ
A อยู่คาบที่ 3 ของตารางธาตุ
มีค่าพลังงานไอออไนเซชัน (IE1-IE5) ดังนี้
IE1 < IE2 < IE3 << IE4
< IE5
ข้อสรุปใดถูกต้อง
1. ธาตุนี้มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 , 3 2. คลอไรด์ของธาตุนี้มีสมบัติเป็นกรด
3. ธาตุ A เป้นอโลหะ 4. เมื่อธาตุ A
เกิดสารประกอบกับซัลเฟอร์
ได้สารที่มีสูตรเคมีเป็น AS
5 (Ent.42 ต.ค.) สมบัติของธาตุไฮโดรเจนในข้อใดบ้างที่ไม่เหมาะกับการจัดธาตุนี้ไว้ในหมู่เดียวกับโลหะอัลคาไลน์
ก. จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน ข.
ชนิดของสารประกอบและพันธะ
ค. จุดหลอมเหลวและจุดเดือด ง.
พลังงานไอออไนเซชัน
1. ก ง 2. ข ค 3. ข
ค ง 4. ก ข
ค ง
6. (Ent.42 ต.ค.) มีธาตุอยู่
4 ชุด เรียงตามเลขเชิงอะตอม ธาตุชุดใดมีทั้งของแข็ง ของเหลวและก๊าซ ที่อุณหภูมิห้อง
1. 2
10 18 36
54 86 2.
3 11 19
37 55 87
3. 4
12 20 38
56 88 4.
9 17 35
53 85
7. (Ent.42 ต.ค.) ไอออนที่มีประจุ
2+ เกิดได้ง่ายที่สุดจากธาตุที่มีเลขเชิงอะตอมเท่าใด
1. 4 2. 11 3. 12 4. 20
8.
(Ent.44 มี.ค.)
ข้อใดสรุปผิด
1. ค่าพลังงานไอออไนเซชันขึ้นอยู่กับขนาด การจัดเรียงอิเล็กตรอนและประจุบนอะตอม
2.
ค่าพลังงานไอออไนเซชันลำดับเดียวกันของธาตุแต่ละชนิดจะไม่เท่ากัน
3. เมื่อ M เป็นธาตุชนิดหนึ่ง ลำดับพลังงานไอออไนเซชันควรเป็นดังนี้ M+ > M > M-
4. พลังงานไอออไนเซชันของ F- Ne และ Na+ มีค่าเท่ากัน
9.
(Ent.43 ต.ค.) พิจารณาตารางข้อมูลต่อไปนี้
ธาตุ
|
พลังงานไอออไนเซชัน (MJ/mol
|
IE1
|
IE2
|
IE3
|
IE4
|
IE5
|
IE6
|
IE7
|
IE8
|
IE9
|
IE10
|
IE11
|
X
|
1.7
|
3.4
|
6.1
|
8.4
|
11.0
|
15.2
|
17.9
|
92.1
|
106.4
|
|
|
Y
|
0.5
|
4.6
|
6.9
|
9.6
|
13.4
|
16.6
|
20.1
|
25.5
|
28.9
|
141.4
|
159.1
|
ข้อสรุปใดผิด
- อิเล็กตรอนในระดับพลังงาน n= 1 ของ X ต้องคายพลังงาน 90.15 MJ/mol เพื่อจะไปอยู่ที่ระดับพลังงาน n=2
- ผลต่างของระดับพลังงาน n=2 และ n=1 ใน Y จะมากกว่าใน
X
- ธาตุ X เป็นธาตุหมู่เดียวกับ 53I
- สารประกอบระหว่าง Y
กับ X เป็นสารประกอบไอออนิก
10. (Ent.44 มี.ค.)
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเลขเชิงอะตอมและพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุ
A B
C และ D เป็นดังนี้
พิจารณาข้อสรุปต่อไปนี้
ก. C
เป็นโลหะอัลคาไลน์
ข. A และ
D
เป็นธาตุหมู่เดียวกัน
ค. B เป็นธาตุเฮโลเจน
ข้อใดถูกต้อง
1. ก
ข 2. ข ค 3. ก ค 4. ก
ข ค
11.
(Ent.45 มี.ค.)
กำหนดเลขเชิงอะตอมของธาตุดังนี้ A=13 B=19
C=20 D=12 การเรียงลำดับขนาดอะตอมในข้อ ใดถูกต้อง
1. B > C > D > A 2. B > C > A > D 3.
C > A >B > D 4. C >
B > A > D
12. (Ent.45 ต.ค.) ธาตุ A และ B เป็นธาตุในคาบเดียวกัน โดย B อยู่ในหมู่ 7A และมีเลขเชิงอะตอมมากกว่า A ส่วน C
และ D
อยู่ในคาบเดียวกัน โดย C เป็นธาตุหมู่ 1 ส่วน D อยู่ในหมู่เดียวกับ A โดยเลขเชิงอะตอมของ D มากกว่า A และมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 พลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1
ของธาตุเหล่านี้เปรียบเทียบกันเป็นอย่างไร
1.
B > A > D > C 2. B > A > C > D 3. A > B > D > C 4. A > D > B > C
13.
(Ent.45 ต.ค.)
ถ้าธาตุ X มีเลขเชิงอะตอม 8
ผลต่างของพลังงานไอออไนเซชันในข้อใดมีค่ามากที่สุด
1. IE8-IE7 2. IE7-IE6 3. IE6-IE5 4. IE5-IE4
14.
(Ent.48 มี.ค.)
ข้อใดที่อธิบายเกี่ยวกับธาตุ
9A 19D 34E และ 35G ไม่ถูก
1. 9A และ 35G มีสมบัติทางเคมีคล้ายกัน 2. 19D มีรัศมีไอออนน้อยกว่า 34E
3. 35G
มีระดับพลังงานชั้นนอกสุด
คือ ชั้น N 4. 34E มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากกว่า 9A
15. (A-net. 48) ธาตุ A B และ
C
มีจำนวนโปรตอน 7 12
และ 15 ตามลำดับ
การเปรียบเทียบสมบัติของธาตุ
A B และ C ข้อใดถูก
1. ขนาดอะตอม
B > A > C 2.
จุดเดือด A
> C > B
3. ค่า EN
A > C > B 4. ค่า IE1 A > B > C
16. (O-net.49) ธาตุ x
อยู่ในหมู่ 7A คาบที่ 5
มีเลขมวล 129 ธาตุ x เป็นไปตามข้อใด
ก. มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์เป็น ข.
เป็นกึ่งโลหะและมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7
ค. มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2
8 18 18 5 ง.
เป็นไอโซโทปกับธาตุ
1. ก ข 2. ข ค 3. ค ง 4. ก ง
17.
(A-net.49) กำหนดให้ A
B C D
E F G และ H เป็นธาตุในตารางดังนี้
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
A
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
B
|
C
|
D
|
|
|
|
E
|
ธาตุแทรนซิชัน
|
|
|
F
|
|
|
|
G
|
|
|
|
|
|
H
|
|
|
การเปรียบเทียบข้อใดถูกต้อง
- ขนาดอะตอม A > E > B
- ค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี D > C > F
- พลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 ของ B > C > D
- ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน(ค่าพลังงานที่คายออกมา)
G
> D > H
18. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 42) A เป็นธาตุหมู่ V คาบ
3 B มีเลขเชิงอะตอมสูงกว่า A อยู่
5 และมีเลขมวล 40
เป็นธาตุที่อยู่ถัด B ไปทางขวาและมีนิวตรอนมากกว่า B อยู่ 5 ข้อสรุปใดผิด
1. สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ C คือ 2. ค่า
IE1
เปรียบเทียบกันได้ดังนี้ B
< C < A
3. C จัดอิเล็กตรอนดังนี้ 2
8 9 2 4. B เป็นโลหะแทรนซิชัน
19. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 42) เมื่อใช้พลังงานทำให้อิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกจากอะตอม กลายเป็นไอออนที่มีประจุหนึ่งบวก
อิเล็กตรอนที่เหลือในไอออนนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เมื่อเทียบกับอะตอมเก่าโดยเฉลี่ย
1. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนเข้าใกล้นิวเคลียสมากขึ้น
2. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ไกลออกไปจากนิวเคลียส
3. อิเล็กตรอนจะยังคงอยู่ในตำแหน่งเดิม
4. อิเล็กตรอนจะยังคงอยู่ในตำแหน่งเดิม หรืออาจเคลื่อนที่เข้าใกล้นิวเคลียสมากขึ้น
20. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค
44) กำหนดข้อความต่อไปนี้
ก. ธาตุ E และธาตุ D เป็นไอโซโทปกัน โดยที่
D2+ มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น 2 8 8
และธาตุ E มีจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 20
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ E
คือ
ข. A3- มีการจัดอิเล็กตรอนเหมือน 16S2- และธาตุ A มีจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 20
ดังนั้นธาตุ A
จะมี เลขเชิงอะตอมเท่ากับ 14
และเลขมวลเท่ากับ 34
ค. + IEn è + e- n
มีค่าเท่ากับ 8
ง.
การเรียงพลังงานขององค์ประกอบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากมากไปน้อยเป็นดังนี้
รังสีเอ็กซ์ แสงสีม่วง อัลตร้าไวโอเล็ต อินฟาเรด
ข้อใดสรุปถูกต้อง
1. ก ข 2. ค ง 3. ก
ข ค 4.
ก ข ค ง
21. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 44) IE1 (พลังงานไอออไนเซชันอันดับ
1) ซึ่งเป็นสมบัติประการหนึ่งของธาตุในตารางธาตุ
ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. IE1 ของธาตุเพิ่มขึ้นตามหมู่
เนื่องจากประจุบวกในนิวเคลียสและขนาดอะตอมเพิ่มขึ้น จึงทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมได้ง่ายขึ้น
2.
IE1
ของธาตุเพิ่มขึ้นตามคาบเนื่องจากประจุบวกในนิวเคลียสเพิ่มขึ้น
จึงทำให้ขนาดอะตอมเล็กลงอิเล็กตรอนจึงหลุดจากอะตอมได้ยากขึ้น
3. IE1
ของธาตุทีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งตามหมู่และตามคาบ เพราะแระจุบวกในนิวเคลียสเพิ่มขึ้น ทำให้อิเล็กตรอนหลุดจากอะตอมได้ยาก
4.
IE1 ของธาตุหมู่ 1
มีค่าต่ำกว่าธาตุหมู่ 2 และธาตุหมู่ 2 มีค่าสูงกว่าธาตุหมู่
3ที่อยู่ในคาบเดียวกันในทุก ๆ คาบเสมอ
22. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 44) สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron
Affinity) ของธาตุปกติแล้วจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเลขเชิงอะตอมเพิ่มขึ้นในคาบ
2 ของตารางธาตุ แต่ข้อใดดังต่อไปนี้มีค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนลดลง
I. 3Li และ 4Be II. 4Be และ 5B III.
5B และ 6C
IV. 6C
และ 7N V. 7N และ 8O
1. I 2. II และ IV 3. I และ IV 4. II และ V
จงใช้ข้อมูลจากตารางเพื่อตอบคำถามข้อ
23-24
ธาตุ
|
เลขมวล
|
จำนวนนิวตรอน
|
A
|
7
|
4
|
B
|
24
|
11
|
C
|
35
|
18
|
D
|
40
|
21
|
23. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 43) ธาตุใดมีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูงสุด
1.
A 2. B 3. C 4. D
24. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 43) ธาตุใดบ้างอยู่คาบเดียวกัน
1. A
B 2. B C 3. A D 4. C D
25. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 43) กำหนดธาตุ A- K
อยู่ในหมู่และคาบของตารางธาตุดังตาราง
คาบ
|
หมู่
|
I
|
II
|
III
|
IV
|
V
|
VI
|
VII
|
VIII
|
1
|
A
|
|
|
|
|
|
|
|
2
|
B
|
|
|
|
F
|
G
|
H
|
J
|
3
|
C
|
E
|
|
|
|
|
I
|
K
|
4
|
D
|
|
|
|
|
|
|
|
ข้อใดถูกต้อง
- พลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 F > E > D > C
- ขนาดอะตอม
H > I > J > K
- โมเลกุลที่เกิดจาก A กับ G มีรูปร่างเป็นทรงสี่หน้า
- E3F2 เป็นสารประกอบไอออนิก ส่วน
GI2
เป็นสารประกอบโคเวเลนต์
26. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 43) ธาตุ X
Y และ Z มีเลขเชิงอะตอม 19
20 และ 37
ตามลำดับ การเปรียบเทียบสมบัติของ
X Y และ
Z ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1. อิเล็กโตรเนกาติวิตี Y > X > Z 2. ขนาดอะตอม Z > X >
Y
3. พลังงานไอออไนเซชันอันดับที่
1 X > Y > Z 4. จุดเดือดและจุดหลอมเหลว Y > X > Z
27. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 45) กำหนดพลังงานไอออไนเซชันอันดับที่ 1 และ 2
ของ Li Be และ Na ดังนี้
|
Li
|
Be
|
Na
|
IE1
|
l1
|
b1
|
n1
|
IE2
|
l2
|
b2
|
n2
|
การเปรียบเทียบค่าในข้อใดถูกต้อง
1. l1 >
b1 2. l2 > b2 3. b1 > n2 4. b2 > n2
28. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 45) ธาตุในคาบที่ 2 ชนิดใด ที่จะมีแนวโน้มของพลังงานไอออไนเซชั่น ดังนี้ (หน่วยเป็น eV/atom) IE1 = 9.3 IE2 = 18.2 IE3
= 153 IE4
= 217
1. Be 2. B 3.
C 4. N
29. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 46)
ธาตุใดต่อไปนี้มีอิเล็กโตรเนกาติวิตีมากที่สุด
(กำหนดเลขเชิงอะตอม Li=3 Be = 4
B = 5 C = 6)
1. Li 2. Be 3. B 4. C
30.
(คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 46) สมบัติทางกายภาพในข้อใดที่ใช้อธิบายสมบัติทางเคมีของอโลหะ
1. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมใหญ่
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
2.
พลังงานไอออไนเซชันต่ำ ขนาดอะตอมใหญ่ อิเล็กโตรเนกาติวิตีต่ำ
3. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก
สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
4. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก
อิเล็กโตรเนกาติวิตีสูง
31.
(คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 46)
พิจารณาข้อความเกี่ยวกับธาตุแทรนซิชันต่อไปนี้
ก.
เนื่องจากธาตุแทรนซิชันอยู่ในตำแหน่งต่อจากธาตุหมู่ 1A
และ 2A ในตารางธาตุจึงย่อมจะมีจุดหลอมเหลว จุดเดือด และ E0 ต่ำกว่าโลหะ
1A และ 2A
ข.
ธาตุแทรนซิชันมีสมบัติคล้ายกันตามคาบมากกว่าธาตุอื่น ๆ ในตารางธาตุ
ค.
มีเลขออกซิเดชันได้น้อยค่าและสารประกอบเชิงซ้อนมักไม่มีสี
ง.
เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุในแต่ละคาบอยู่ในระดับพลังงานเดียวกันและมีค่าเป็น 1 หรือ 2 เช่นเดียวกับธาตุหมู่ 1A
และ 2A ข้อใดถูกต้อง
1. ก
ข ค และ ง 2. ข และ ค 3.
ก ข
และ ค 4. ง
เท่านั้น
32. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 46)
ข้อใดเรียงลำดับขนาดอะตอมของธาตุต่อไปนี้จากเล็กไปใหญ่ได้ถูกต้อง
15P 16S 17Cl 19K 20Ca
1. P < S < Cl <
Ca < K 2. Cl < S < P < Ca < K
3. Ca < K < Cl < S < P 4. Ca < K < P < S < Cl
33. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค
47)
พิจารณาสมบัติของธาตุต่าง ๆ ในระดับอะตอม
สมบัติในข้อใดที่มีความสอดคล้องกัน
|
ขนาดอะตอม
|
พลังงานไอออไนเซชัน
|
อิเล็กโตรเนกาติวิตี
|
1.
|
เล็ก
|
ต่ำ
|
ต่ำ
|
2.
|
ใหญ่
|
ต่ำ
|
ต่ำ
|
3.
|
ใหญ่
|
สูง
|
ต่ำ
|
4.
|
เล็ก
|
ต่ำ
|
สูง
|
34. (PAT.2 ต.ค.52) ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. ธาตุหมู่
18 ทุกชนิดไม่มีค่า EN
2. ธาตุหมู่ 18
ทุกชนิดเสถียรแล้ว จึงไม่มีค่า EA และ EN
3. ค่า IE เป็นค่าบวก
แต่ค่า EA เป็นค่าลบ
4. ธาตุที่ไม่มีค่า EN คือธาตุที่ไม่สร้างพันธะกับธาตุอื่น
35. (PAT.2 ต.ค.52)
กราฟค่าพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ถึง 5
ของธาตุที่มีเลขเชิงอะตอมติดกัน
4 ชนิด คือ
A
B C และ
D จากกราฟ รัศมีของธาตุทั้ง 4
ชนิดเรียงลำดับจากน้อยไปมากได้ตามข้อใด
1.
A < B < C < D 2. D < C < B < A
3. D < A < B < C 4. C < B
< A < D
36. (PAT.2 ก.ค. 53) ข้อใดถูกเกี่ยวกับพลังงานไอออไนเซชัน ลำดับที่ 1 ของแต่ละธาตุ
1. 1H มีค่ามากกว่า 2He 2. 11Na มีค่ามากกว่า
12Mg
3. 18Ar มีค่ามากกว่า
19K 4. 18Ar มีค่ามากกว่า
10Ne
37. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 42)
พลังงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในข้อใดถูกต้อง
1. Na(s)
è
Na+(g) + e- ใช้พลังงานเท่ากับ IE1
2. Li(s) è
Li+(aq) + e- ใช้พลังงานเท่ากับ IE1
3. Mg(g) è
Mg2+(g) + 2e- ใช้พลังงานเท่ากับ IE2
4. Be+(g) è Be2+(g) + e- ใช้พลังงานเท่ากับ IE2
38.(คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 44)
ข้อใดที่แสดงการเพิ่มขึ้นของค่าไอออไนเซชันอันดับ 1 ได้ถูกต้อง
1. Sb <
As < P < S < Cl 2. P < As < Sb < S < Cl
3. Cl < Sb < P < As < S 4. Sb < As < Cl < S < P
39. (คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 43) ธาตุ A และ B มีรัศมีอะตอม 180
และ 92 pm ตามลำดับ
รัศมีไอออนของธาตุ A และ B
เท่ากับ 90 และ 180 pm ตามลำดับ เลขเชิงอะตอมของ A และ
B
ตามลำดับในข้อใดเป็นไปได้มากที่สุด
1. 19 35 2. 20 25 3. 34 37 4. 30 31
40.
(คัดเลือกเคมีโอลิมปิค 47) จงพิจารณาข้อมูลเกี่ยวกับรัศมีของไอออน 6 ชนิด
ไอออน
|
A+
|
B+
|
C2+
|
X-
|
Y-
|
Z2-
|
รัศมี (nm)
|
0.14
|
0.18
|
0.15
|
0.14
|
0.18
|
0.15
|
ลำดับแรงดึงดูดไอออนจากมากไปน้อยข้อใดถูกต้อง
1.
AX > BY > CZ 2. CZ > BY > AX
3. BY > CZ > AX 4. CZ > AX > BY
41.
(O-net.49) ธาตุสมมติมีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ และ ธาตุใดอยู่ในหมู่เดียวกัน
1. A กับ B 2. X
กับ Y 3. A กับ Y 4. B กับ X
Appendix
1. What do the electronic
configurations of elements of atomic numbers 13, 21, 37, and 49 have
in common? (Ans.c) ; (การจัดอิเล็กตรอนของธาตุที่มีเลขเชิงอะตอม
13,21,37 และ 49 ทำให้ธาตุมีสมบัติดังข้อใด)
a) They are all
metalloids. (เป็นธาตุกึ่งโลหะทุกธาตุ)
b) They all form +1
ions. (เมื่อเป็นไอออนจะมีประจุ +1 ทุกธาตุ)
c) They all have a
single electron in a subshell. (มีอิเล็กตรอนเดี่ยวอยู่ใน
subshell ทุกธาตุ)
d) They all have
electrons in d subshells (มีอิเล็กตรอนอยู่ใน subshell d ทุกธาตุ)
e) They are all
transition metals. (เป็นธาตุแทรนซิชันทุกธาตุ) (คลิ้ก ดูการจัดอิเล็กตรอน)
2. A gaseous ion X- has three
unpaired electrons in its most stable state. If
X is a representative element, to which group does the element X belong?
(Ans.c) ; (X- เมื่ออยู่ในภาวะก๊าซซึ่งเป็นภาวะที่ เสถียรที่สุดพบว่ามีอิเล็กตรอนเดี่ยวอยู่
3 ตัว ถ้า X
เป็นธาตุในกลุ่ม representative จะเป็นธาตุหมู่ใด)
a) IA b) VA c) IVA d) IIIA e) IIA
3. Which of the following electron
configurations corresponds to an element in the same group as an element with a
1s22s22p2 electron configuration? (Ans.c) ; (การจัดอิเล็กตรอนของธาตุข้อใดเป็นธาตุหมู่เดียวกับธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนเป็น
1s22s22p2)
a) 1s22s22p63s2 b)
1s22s22p63s23p4 c)
1s22s22p63s23p2
d) 1s22s22p1 e)
1s22s22p4
4. What do the electron configurations of
elements of atomic numbers 8, 16, 35 and
53 have in
common? (Ans.a) (ธาตุที่มีเลขเชิงอะตอม 8
16 35 และ
53 มีสมบัติดังข้อใด) a) They all readily
form negative ions.
(เมื่อเป็นไอออนจะเป็นไอออนลบ) b)
They are all transition metals. (เป็นโลหะแทรนซิชันทุกธาตุ)
5. Identify
รูปภาพที่เกี่ยวข้อง
Size : 10.02 KBs
Upload : 2014-08-09 05:33:14
|
|
ต้องการให้คะแนนบทความนี้่ ?
|
สถานะ : ผู้ใช้ทั่วไป
วิทยาศาสตร์
|
|
|