K-Me Article


แบบฝึกหัดสำหรับสมบัติของธาตุและสารประกอบ ตอนที่ 1 - 3

แบบฝึกหัด 

 

1.   (Ent.42 ,มี.ค.)  ธาตุสมมติ  A  อยู่ในคาบที่  3  ของตารางธาตุ  มีค่าพลังงานไอออไนเซชัน

     (IE1-IE6)  ดังนี้   IE123<456   ข้อสรุปใดถูกต้อง

  1. ธาตุนี้มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเป็น  2  3
  2. คลอไรด์ของธาตุนี้มีสมบัติเป็นเบส
  3. ธาตุ A เป็นอโลหะ
  4. เมื่อธาตุ A เกิดสารประกอบกับซัลเฟอร์  ได้สารที่มีสูตรเคมีเป็น  A2S3

 

 2.   (Ent.42 ,ต.ค.)  กำหนดสัญลักษณ์(สมมติ)และเลขเชิงอะตอมของธาตุดังนี้

                263537C  4256E   ธาตุในข้อใดเป็นธาตุอัลคาไลน์เอิร์ธ  เฮโลเจน  และแทรนซิชัน  ตามลำดับ

 

 

อัลคาไลน์เอิร์ธ

เฮโลเจน

แทรนซิชัน

1.

D

A  B

C  E

2.

E

B

A  D

3.

A  C

D  E

B

4.

D  A

E

B

 

 3.   (Ent.43 มี.ค.)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

e

 

g

h

 

a

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

d

 

f

 

i

j

 

c

 

 

 

 

k

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

b

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                ธาตุใดที่สารประกอบออกไซด์มีอัตราส่วนจำนวนอะตอมของธาตุ:ออกซิเจน = 2:1

                1.  a  b                     2.  h   i                     3.  e   g                    4.  a  b  h  i

 

5.  (Ent. 44 มี.ค.)  พิจารณาธาตุและสมบัติของธาตุที่กำหนดให้ในตารางต่อไปนี้

 

ธาตุ

มวลอะตอม

ลักษณะที่อุณหภูมิปกติ

ความเป็นโลหะ-อโลหะ

ความว่องไวในการ

เกิดปฏิกิริยา

A

12.01

ของแข็งสีดำ

อโลหะ

น้อย

B

19.00

แก๊สสีเหลืออ่อน

อโลหะ

มาก

C

22.99

ของแข็งสีเงิน

โลหะเนื้ออ่อน

มาก

D

28.09

ของแข็งสีเทา

กึ่งโลหะ

ปานกลาง

E

39.95

แก๊สไม่มีสี

อโลหะ

ไม่เกิดปฏิกิริยา

ธาตุใดบ้างอยู่หมู่เดียวกัน

                1.  B  E                    2.  A  B                   3.  A  D                   4.  ไม่มีธาตุใดอยู่หมู่เดียวกัน

 

 6.   (Ent.44 ต.ค.)  ข้อใดสรุปผิด

                1.  สารประกอบออกไซด์ของโลหะมักเป็นของแข็งและสารละลายมีสมบัติเป็นเบส

                2.  สารประกอบออกไซด์ของอโลหะมักเป็นก๊าซและสารละลายมีสมบัติเป็นกรด

                3.  สารประกอบคลอไรด์ของโลหะมักเป็นของแข็งและสารละลายเป็นเบส

               4.  สารประกอบคลอไรด์ของอโลหะมักเป็นแก๊สหรือของเหลวและสารละลายมีสมบัติเป็นกรด

 

 7.  (Ent 45 ต.ค.)  จากข้อมูลที่กำหนดให้

ธาตุ

เลขอะตอม

สมบัติของออกไซด์เมื่อละลายน้ำ

A

6

กลาง

B

8

-

C

10

-

D

12

เบส

 

                ข้อใดถูก

  1. พลังงานไอออไนเซชั่นอันดับที่ 1 ของ D>C
  2. สูตรของสารประกอบระหว่าง A และ B คือ  A2B3
  3. เมื่อหยดสารละลาย  HCl  ลงใน  D  ได้แก๊ส  H2  แต่เมื่อหยดลงใย  B  ได้แก๊ส  Cl2
  4. อิเล็กโตรเนกาติวิตีของ  B>D

8.  (Ent.47 ต.ค.)  ธาตุสมมติ  A  B  และ  C  เป็นธาตุคาบเดียวกันในตารางธาตุ  เกิดสารประกอบออกไซด์และคลอไรด์ที่มีคุณสมบัติดังนี้

 

สารประกอบออกไซด์ของธาตุ

จุดหลอมเหลว (0C)

ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย

A

1723

ไม่ละลายน้ำ

B

-72.7

กรด

C

2852

เบส

สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ

จุดหลอมเหลว (0C)

ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย

A

-70

กรด

B

-78

กรด

C

714

กลาง

 

ข้อใดถูก

1. สารประกอบคลอไรด์ของ A  คือ  SiCl4        2 .ธาตุ  B  เป็นอโลหะ  A  และ  C  เป็นโลหะ

3. มวลอะตอมของ  A>B>C                                 4. ค่าพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1  ของ A>B>C

 

 

 

 

Appendix

Objective:   To be able to use the periodic table to identify and classify elements and to use the periodic table to predict the behavior of elements  (จุดประสงค์ :

ให้มีความสามารถในการใช้ตารางธาตุในการระบุสมบัติของธาตุและจำแนกหมวดหมู่ของธาตุได้)

 Procedure: (กระบวนการ)

 Number the groups. (จงใส่หมายเลขหมู่ลงในตารางธาตุ)  (อยู่ตอนท้าย)

  1. Number the periods  (จงใส่หมายเลขคาบในตารางธาตุ)
  2. Draw a heavy lack line between the metals and nonmetals. (จงลากเส้นหนา ๆ ตามแนวแบ่งเขตระหว่างโลหะกับอโลหะ)
  3. Write the name of each of the following groups above the number: (จงเขียนชื่อธาตุหมู่ต่าง ๆ ต่อไปนี้)

Group 1   alkali metals (หมู่ที่ 1  โลหะอัลคาไล)

Group 2   alkaline earth metal (หมู่ที่ 2 โลหะอัลคาไลน์ เอิร์ธ)

Group 3-12  (collectively) transition metals  (หมู่ที่ 3-12 โลหะแทรนซิชัน)

Group 16 chalcogens (หมู่ที่ 16  ชาลโคเจน)

Group 17 halogens (หมู่ที่ 17  ฮาโลเจน)

Group 18 Noble gases (หมู่ที่ 18  ก๊าซมีตระกูล)

  1. Write the symbol of each element that exists as a gas at ordinary conditions in RED. (จงเขียนสัญลักษณ์ของธาตุที่มีสถานะเป็นก๊าซที่ภาวะปกติด้วยหมึกแดง)
  2. Write the symbol of each element that is a solid at ordinary conditions in BLACK. (จงเขียนสัญลักษณ์ของธาตุที่มีสถานะเป็นของแข็งที่ภาวะปกติด้วยหมึกดำ)
  3. Write the symbol of each element that is a liquid at ordinary condition in BLUE. (จงเขียนสัญลักษณ์ของธาตุที่มีสถานะเป็นของเหลวที่ภาวะปกติด้วยหมึกน้ำเงิน)
  4. Write the symbol of each element that is a man-made element as an outline. Example: Pm (จงเขียนสัญลักษณ์ของธาตุที่ได้จากการสังเคราะห์)
  5. Place the atomic number for each element above the symbol. (จงเติมเลขเชิงอะตอมที่สัญลักษณ์ของธาตุต่าง ๆ)
  6. Use the following chart to color the periodic table.  (จงระบายสีตามที่กำหนดลงในตารางธาตุ)

Halogen          blue  (ระบายสีน้ำเงินบริเวณธาตุฮาโลเจน)

Noble gases      yellow (ระบายสีเหลืองบริเวณก๊าซมีตระกูล)

Alkali metals       purple (ระบายม่วงบริเวณโลหะอัลคาไล)

Alkaline earth metals     red (ระบายสีแดงบริเวณโลหะอัลคาไลน์ เอิร์ธ)

Transition elements      green (ระบายสีเขียวบริเวณธาตุแทรนซิชัน)

Chalcogens       brown (ระบายสีน้ำเตาลบริเวณธาตุชาลโคเจน)

Lanthanides       orange (ระบายสีส้มบริเวณธาตุแลนทาไนด์)

Actinides      light blue (ระบายสีน้ำเงินอ่อนบริเวณธาตุแอคทีไนด์)

  1. Outline the symbol’s box in dark green if it is RADIOACTIVE in its most common form. (ใช้ตัวอักษรขอบสีเขียวเข้ม  สำหรับช่องที่เป็นธาตุกัมมันตรังสี)

          Periodic Table Worksheet

 

 

 

 

KEY: (เฉลย)
RED {GAS}  H, He, N, O, F, Ne, Cl, Ar, Kr, Xe, Rn, Sm, Eu, Gd
 BLUE {LIQUID} Ga, Br, Cs, Hg, Fr
GREEN {RADIOACTIVE}
Tc, Po, At, Rn, Fr, Ra, Rf, Ha, La, Ce, Pr, Nd, Pm, Ac, Th, Pa, U, Np, Pu, Am, Cm, Bk, Cf, Es, Fm, Md, No, Lr
 OUTLINE {SYNTHETIC}  Tc, Pm, Np, Pu, Am, Cm, Bk, Cr, Es, Fm, Md, No, Lr
 BLACK {SOLID}Li, Be, B, C, Na, Mg, Al, Si, P, S, K, Ca, Sc, Ti, V, Cr, Mn, Fe, Co, Ni, Cu, Zn, Ge, As, Se, Rb, Sr, Y, Zr, Nb, Mo, Ru, Rh, Pd, Ag, Cd, In, Sn, Sb, Te, I, Ba, Hf, Ta, W, Re, Os, Ir, Pt, Au, Tl, Pb, Bi, Po, At, Ra, Rf, Ha, Sg, Bh, Hs, Mt, Tb, Dy, Ho, Er, Tm, Yb, Lu, Uun, Uuu, Uub

12.  The properties of the Group 7 Halogen elements (สมบัติของธาตุหมู่ 7 ธาตุฮาโลเจน)

Atomic number
(เลขเชิงอะตอม)

Element
(ชื่อธาตุ)

Symbol
(สัญลักษณ์)

state, colour at room temperature
(สถานะและสี ณ อุณหภูมิห้อง)

Melting point oC
(จุดหลอมเหลว)

Boiling point oC
(จุดเดือด)

Electron arrangement
(การจัดอิเล็กตรอน)

 

9

 

Fluorine

 

F

 

pale yellow gas

 

-220

 

-188

 

 

17

 

 

Cl

 

 

 

 

 

35

 

 

Br

 

 

 

 

ends in .7

 

53

 

 

I

 

 

 

 

ends in .7

 

85

 

Astatine

 

At

 

black solid

 

302

 

337

 

 

ends in .7

12.1  (a) Complete the table above. (จงทำตารางให้สมบูรณ์)
         (b) What is the colour trend down the group? (แนวโน้มความเข้มของสีของธาตุหมู่นี้เป็นอย่างไร)       

 
         (c) What is the colour of the vapour (gas) formed on heating (i) bromine, (ii) iodine? (ไอ
                 ของ Br2  และไอของ  I2  มีสีอะไร)

12.2 (a) What properties in the table are typical of non-metals? (สมบัติดังแสดงในตารางสมบัติใดเป็นสมบัติเฉพาะของอโลหะ)

 

 

        (b) Suggest some other properties the halogens might have compared to metals eg   strength of solid, heat and electrical conduction? (จงเปรียบเทียบสมบัติระหว่างฮาโลเจนกับโลหะ เช่น ความแข็ง  การนำความร้อน การนำไฟฟ้า....)

 

 

 

12.3(a) What is the group trend in melting and boiling point down the group with increase in  atomic number? (แนวโน้มของจุดหลอมเหลวและจุดเดือดตามหมู่จากบนลงล่าง หรือตามการเพิ่มของเลขเชิงอะตอมว่าเป็นอย่างไร)

 

 

 

        (b) how does the trend affect their physical state as you go down the group with increase   in atomic number? (สมบัติทางกายภาพตามหมู่จากบนลงล่างหรือตามการเพิ่มของเลขเชิงอะตอม  มีแนวโน้มอย่างไร)

 

 

12.4The molecules consist of diatomic molecules. What does this mean? (โมเลกุลอะตอมคู่หมายความว่าอย่างไร)

 

 

12.5(a) What sort of compounds do they form when combined with metals? eg sodium chloride NaCl (สารประกอบที่เกิดขึ้นเมื่อทำปฏิกิริยากับโลหะ เช่น โซเดียม  เป็นสารประกอบประเภทใด)  (note (i) the metal keeps its name BUT chlorine becomes   chloride, (ii) bromine becomes bromide and iodine becomes iodide in compounds) (ข้อสังเกต i. การเรียกชื่อสารประกอบให้เรียกชื่อของโลหะตามเดิม  แต่คลอรีนให้เรียกว่าคลอไรด์  ii.  โบรมีนเรียกเป็นโบรไมด์  ไอโอดีนเรียกเป็นไอโอไดด์)

 

 

 

         (b)  What is the charge on the halide ion? Quote the symbol of the ion from chlorine.
HT only Can you explain why its that particular charge?  (ประจุไอออนของเฮไลด์เป็นเท่าไร อธิบายได้หรือไม่ว่าเป็นเพราะเหตุใด)

 

 

12.6What sort of compounds do they form when combined with non-metals? eg hydrogen chloride HCl (เมื่อทำปฏิกิริยากับอโลหะจะได้สารประกอบประเภทใด  เช่น  HCl )

 

 

12.7Describe simple chemical tests for (a) chlorine, (b) iodine [clue - biological connection] (จงบอกวิธีทดสอบก๊าซคลอรีน  และโบรมีน)

 

 

 

12.8The Reactivity Trend of the Halogens  (แนวโน้มเกี่ยวกับความไวในการเกิดปฏิกิริยาของฮาโลเจนเป็นอย่างไร)

 

 

13.What you do is add a solution of the halogen in water to the potassium salts of the other halogens, also dissolved in water. If a displacement reaction occurs the solution gets darker (eg more yellow, orange or brown). It also shows whether one halogen is more reactive than another. Note your observations in the table below. (เมื่อเติมสารละลายของธาตุฮาโลเจนลงในสารละลายโพแทสเซียมเฮไลด์  ดังตารางจะเกิดผลอย่างไร)

halogen\salt
(ธาตุฮาโลเจน\เกลือ)

Potassium chloride (KCl)

Potassium bromide(KBr)

Potassium iodide(KI)

Water blank (fair test check)(น้ำเปล่า/ใช้เปรียบเทียบ)

chlorine water (pale green solution)
(สารละลายของ Cl2 สีเขียวอ่อน)

no change

 

 

 

bromine water (orange solution)
(สารละลายของ Br2 สีส้ม)

 

no change

 

 

iodine water (very dark solution of iodine dissolved in potassium iodide solution)(สารละลาย I2 สีน้ำตาลเข้ม)

 

 

no change (but complicated by the formation of the very darkly coloured I3- ion)

 

1. (a) complete the table of results above, either from doing the experiment or working it out from your knowledge of halogen chemistry.(จงเติมผลการทดลงลงในตาราง)

(b) What do you think the purpose of the water blank is? (น้ำเปล่าที่ใช้ทดลงมีจุดประสงค์อย่างไร)

 

 

2. (a) Which halogens does chlorine displace?  (ฮาโลเจนชนิดใดบ้างที่ถูกคลอรีนแทนที่ได้)

 

 

(b) Which halogens does bromine displace? (ฮาโลเจนชนิดใดบ้างที่ถูกโบรมีนแทนที่ได้)

 

(c) Which halogens does iodine displace? (ฮาโลเจนชนิดใดบ้างที่ถูกไอโอดีนแทนที่ได้)

 

 

3. (a) What is the reactivity rule for displacement reactions? (มีกฎอย่างไรในการทำปฏิกิริยาแทนที่ระหว่างฮาโลเจนต่าง ๆ)

 

 

(b) From your observations in 2., what is the reactivity trend for chlorine, bromine and iodine?(จากข้อ  2  แนวโน้มความไวของปฏิกิริยาระหว่างคลอรีน  โบรมีนและไอโอดีนเป็นอย่างไร)

 

 

(c) From (b) what is the Group trend rule for chemical reactivity down the group with increase in atomic number? (จากข้อ b แนวโน้มความไวของปฏิกิริยาตามหมู่จากคาบบนถึงคาบล่างเป็นอย่างไร)

 

(d) How does their reactivity compare to Noble Gases? Why the difference? (ความไวในการเกิดปฏิกิริยาเมื่อเปรียบเทียบกับโนเบลก๊าซเป็นอย่างไร  และเป็นเพราะเหตุใด)

 

 

4. From your observations in 2. write word and symbol equations for the other displacement reactions that happened e.g.

chlorine + potassium bromide è potassium chloride + bromine
Cl2(aq) +   KBr(aq) è  KCl(aq) + Br2(aq)  (not balanced!)

.(จาก 2 จงเขียนสมการเคมีด้วยข้อความและเขียนสมการเคมีดัวยสัญลักษณ์  แสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นดังตัวอย่าง)

 

 

 

5. Write word and ionic equations for the reactions and explain them in terms of oxidation and reduction (electron loss or gain). The equations only involve the halogen molecules and halide ions. Note the potassium ion K+, does not take part in the reaction and is called a 'spectator ion'. The first equation is given BUT not fully balanced ... and then write out the others where a reaction took place eg
chlorine molecule + bromide ion è chloride ion + displaced bromine molecule
Cl2(aq) +  Br-(aq)  è  Cl-(aq) + Br2(aq)  (not balanced!)
(จาก 2 จงเขียนสมการไอออนิก  แสดงการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันหรือรีดักชัน (ให้หรือรับอิเล็กตรอน) สมการประกอบด้วยโมเลกุลของฮาโลเจนกับเฮไลด์ไอออน  ให้สังเกตว่า K+ ไม่ได้เกิดปฏิกิริยา  เรียกว่า  'spectator ion'  ดังตัวอย่างที่ให้มา  แต่สมการยังไม่ดุล  จงเขียนสมการที่เหลือ )

 

 

 

 

 

6. Why do elements in the same group have similar chemical properties? (เหตุใดธาตุในหมู่เดียวกันจึงมีสมบัติทางเคมีคล้ายกัน)

 

 

 

 

7. How, in electronic terms, do you explain the reactivity trend? (จะอธิบายถึงแนวโน้มของความไวของปฏิกิริยาด้วยการจัดอิเล็กตรอนว่าอย่างไร)



รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

Size : 18.69 KBs
Upload : 2013-08-27 04:56:45
ติชม

กำลังแสดงหน้า 1/0
<<
1
>>

ต้องการให้คะแนนบทความนี้่ ?

0
คะแนนโหวด
สร้างโดย :


K-Me
รายละเอียด Share
สถานะ : ผู้ใช้ทั่วไป
วิทยาศาสตร์


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
70 หมู่ 2 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ 10170
โทรศัพท์ 0 2441 3593 E-Mail:satriwit3@gmail.com


Generated 1.348046 sec.