K-Me Article


ตอนที่ 10/1 แบบฝึกหัดสำหรับตอนที่ 10
  

แบบฝึกหัด (สำหรับตอนที่ 10 ) 

1.  Calculate the Ho for the following reaction using the given bond energies.
    (จงคำนวณหาค่า  Ho  ของปฏิกิริยาต่อไปนี้โดยใช้ค่าพลังงานพันธะตามที่กำหนด)
    (H - N = 389 kJ; C - H = 414 kJ; H - H = 435, C Ξ N = 879; C - N = 293). (ans.b)

    HCN (g) + 2 H2(g)  CH3 - NH2

    a)   -113             b)   -150                 c)   -128                d)   -135                 e)   -140


2.  The enthalpy change for the following reaction is 514 kJ. Calculate the average Cl - F bond energy.

    ClF3(g)    Cl(g) + 3 F(g)  (ans.b)
    (ถ้าปฏิกิริยาที่กำหนดให้มีการเปลี่ยนแปลง  enthalpy  514 kJ  จงคำนวณหาพลังงานพันธะเฉลี่ยของ  Cl – F )

    a)   1542            b)   171                 c)   514                  d)   312                 e)   88


3.   Calculate the ΔHo  for the following reaction using the given bond energies.
      (จงคำนวณหาค่า  ΔHo  ของปฏิกิริยาต่อไปนี้โดยใช้ค่าพลังงานพันธะตามที่กำหนด)
     (H - Cl = 431 kJ; O - O = 494 kJ; H - O = 463, Cl - Cl = 243).  (ans.b)

     4 HCl(g) + O2(g)      2 H2O(g) + 2 Cl2(g)

     a)   -169            b)   -120                 c)   -152                 d)   -139                 e)   -102



4.  Using the following bond energies and the heat of reaction for the reaction, calculate the average bond energy of 
     Xe - F in XeF2. (H - H = 435; H - F = 565). (ans.e)
     (จงใช้พลังงานพันธะและพลังงานของปฏิกิริยาตามที่กำหนด  คำนวณหาพลังงานพันธะเฉลี่ยของ  Xe - F ใน XeF2)

                XeF2(g) + H2(g)  2 HF(g) + Xe(g)  Ho = -430 kJ

     a)   264             b)   172                 c)   352                  d)   298                 e)   133



5.  Using the following bond energies and  ΔHo f NH3(g) = -46.19 kJ/mole, calculate the nitrogen-nitrogen bond
     energy   in N2(g). (H - H = 435 kJ, H - N = 386 kJ). (ans.e)
     (จงใช้ค่าพลังงานพันธะตามที่กำหนดและค่า  ΔHo f  ของ  NH3(g) = -46.19 kJ/mole  คำนวณหาค่าพลังงานพันธะระหว่า
     อะตอมของไนโตรเจนกับไนโตรเจน  ในโมเลกุลของ  N2)

            3 H2(g) + N2(g)  2 NH3(g)

     a)   884             b)   998                 c)   811                  d)   842                 e)   919


6.  Calculate the ΔHo for the following reaction using the given bond energies.
    (H - N = 389 kJ; C - H = 414 kJ; H - H = 435, C --- N = 879; C - N = 293).  (ans.e)
    (จงคำนวณหาค่า  ΔHo  ของปฏิกิริยาต่อไปนี้โดยใช้ค่าพลังงานพันธะตามที่กำหนด)

                HCN (g) + 2 H2(g)  CH3 - NH2

    a)   -135             b)   -140                 c)   -113                 d)   -128                 e)   -150


7.  What amount of heat energy (kJ) is released in the combustion of 8.00 g of CH3OH(l)?

    (Atomic weights: C = 12.01, H = 1.008, O = 16.00). (ans.a)
    (เมื่อ  CH3OH(l)  จำนวน  8.00  กรัมเกิดการเผาไหม้ดังสมการ  จะปล่อยพลังงานออกมากี่  kJ)

    2 CH3OH(l) + 3 O2(g)     2 CO2(g) + 4 H2O(l)  ΔHo  = -1454 kJ

    a)   182              b)   232                  c)   125                  d)   209                  e)   150



8.  What amount of heat energy, kJ, is released in the combustion of 16.0 g of C3H6?

    (Atomic weights: C = 12.01, H = 1.008, O = 16.00). (ans.a)

    (เมื่อ  C3H6จำนวน  16.00  กรัมเกิดการเผาไหม้ดังสมการ  จะปล่อยพลังงานออกมากี่  kJ)    
    2 C3H6(g) + 9 O2(g)    6CO2(g) + 6 H2O(l)  ΔHo  = -4120 kJ

    a)   783              b)   725                  c)   624                 d)   504                  e)   581


9.  Calculate the heat evolved (kJ) for the reaction in which 20.0 g of TiO2 is formed.

     (Atomic weights: Ti = 47.9, O = 16.00). (ans.a)

     (จากปฏิกิริยาดังสมการ  ถ้ามี  TiO2  เกิดขึ้น  20.0  g  จะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานกี่  kJ)

     TiCl4(g) + 2H2O(g)    TiO2(s) + 4HCl    ΔHo  = -67.1 kJ

     a)   16.8            b)   8.4                   c)   14.2                 d)   19.0                 e)   24.5



10  Use a standard enthalpies of formation table to determine the change in enthalpy for each of these reactions.
     (จงใช้เอนทัลปีมาตรฐานตามที่กำหนดในตาราง  ในการคำนวณหาการเปลี่ยนแปลงเอนทัลปีของปฏิกิริยาตามที่กำหนด)

Compound

DHf (kJ/mol)

Compound

DHf (kJ/mol)

CH4(g)

-74.8

HCl(g)

-92.3

CO2(g)

-393.5

H2O(g)

-241.8

NaCl(s)

-411.0

SO2(g)

-296.1

H2O(l)

-285.8

NH4Cl(s)

-315.4

H2S(g)

-20.1

NO(g)

+90.4

H2SO4(l)

-811.3

NO2(g)

+33.9

MgSO4(s)

-1278.2

SnCl4(l)

-545.2

MnO(s)

-384.9

SnO(s)

-286.2

MnO2(s)

-519.7

SnO2(s)

-580.7

NaF(s)

-569.0

SO2(g)

-296.1

NaOH(s)

-426.7

SO3(g)

-395.2

NH3(g)

-46.2

ZnO(s)

-348.0



Zn(s)

-202.9


a)    NaOH(s) + HCl(g)    NaCl(s) + H2O(g)  ; (ans. -133.8 kJ)


11.  For the following reaction:  CaCO3 (s)           CaO(s)  + CO2(g)                                                              

         Given: ΔH  = +178 kJ/mol

      a) How many kilojoules of heat energy is involved in the above reaction if 3 moles of  CaCO3 were to decompose?
          (ถ้า  CaCO3  สลายตัวไป  3  โมล  จะดูดพลังงานกี่กิโลจูล)


     b)  Is this reaction endothermic or exothermic? The sign of H  = ______

         (ปฎิกิริยาเป็นชนิดดูดหรือคายความร้อน  เมื่อแสดงด้วย H  = ______ )

     12.  For the following reaction: H2 (g)  + Cl2(g)       2HCl (g)  + 185kJ 

             a) How many kilojoules of heat energy is released if 2.5 moles of H2 reacts with an excess of chlorine gas?
               (ถ้า  H2  จำนวน  2.5  โมล  ทำปฏิกิริยากับ  Cl2  ซึ่งมากเกินพอ  จะมีการคายพลังงานออกมากี่กิโลจูล)


            b) Is this reaction endothermic or exothermic? H  =  positive or negative (circle one)?
              (ปฏิกิริยาเป็นชนิดดูดหรือคายความร้อน  และค่า  H  เป็น + หรือ -)

          c) How many moles of HCl would be produced if 2.5 moles of H2 reacts with an excess of chlorine gas?
             (ถ้าใช้  H2  จำนวน  2.5  โมล  ทำปฏิกิริยากับ  Cl2  มากเกินพอ  จะมี  HCl  เกิดขึ้นกี่โมล)



13.  For the following reaction: (จากปฏิกิริยาต่อไปนี้)

      2KClO3(s) + 156 kJ          2KCl (s)  + 3O2 (g)
         a. How many kJ of heat energy is absorbed if 16 moles of KClO3 were to decompose?
             (ถ้ามีการสลายตัวของ  KClO3  จำนวน  16  โมล  จะมีการดูดพลังงานกี่กิโลจูล)



         b. Is this reaction endothermic or exothermic? The sign of H  = ______
             (ปฏิกิริยาเป็นชนิดดูดหรือคายความร้อน  และค่า  H  เป็นเท่าไร)



14.  (Ent.42 มี.ค.) พิจารณาพลังงานและความยาวของพันธะของสารที่กำหนด

                a.  YCl                    b.  YF                     c.  YI                       d.  YBr

                ข้อที่มีความสอดคล้องกันคือข้อใด


พลังงานพันธะ

ความยาวพันธะ

1.

a>b>c>d

ad

2.

c

Cb

3.

b>a>d>c

B

4.

B

b>a=d>c



15. (Ent.42 มี.ค.)  อัตนัย  กำหนดให้

พันธะ

พลังงานพันธะ (kJ/mol)

C – H

413

Cl – Cl

242

C – Cl

339

H - Cl

431


พิจารณาปฏิกิริยา  CH4(g)  +  Cl2(g)    CCl4(g)  +  HCl(g)    (สมการยังไม่ดุล) 

                ปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายความร้อน  และความร้อนของปฏิกิริยามีค่ากี่กิโลจูลต่อโมลของ CH4 



16. (Ent.42 ต.ค.)  อัตนัย  กำหนดค่าพลังงานสลายพันธะในหน่วย kJ  ต่อไปนี้

                C-H = 427             C-Cl = 339            H-Cl = 431            Cl-Cl = 243

      ปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน  และปริมาณความร้อนของปฏิกิริยามีค่ากี่ kJ

                CH4 + Cl2    CH3Cl + HCl



17. (Ent.43 ต.ค.)  กำหนดพลังงานพันธะเฉลี่ย


พันธะ

พลังงานพันธะ(kJ/mol)

พันธะ

พลังงานพันธะ(kJ/mol)

C-H

415

O=O

500

C-C

340

O-O

140

C=C

610

C-O

350

CC

840

O-H

460

C=O

740




ปฏิกิริยาในข้อใดคายพลังงานมากที่สุด

  1. CH3-CH3  +  7/2O2    2CO2 + 3H2O
  2. CH2=CH2   +  3O2    2CO2  +  2H2O
  3. CHCH  +  5/2O2    2CO2 + H2O
  4. CH3-CH2-OH  +  3O2    2CO2  +  3H2O

18.  (Ent.44 มี.ค.)  กำหนดพลังงานพันธะเฉลี่ย (kJ/mol)  ต่อไปนี้

                C-C = 348                             C-H = 413                             C-O  =  358

                C=C = 745                            O-H = 463                             O=O = 498

                ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของโพรพานอลในสถานะก๊าซ  1  โมล  ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส  CO2  และไอน้ำ  จะคายหรือดูด
        พลังงานกี่กิโลจูล/โมล

                1.  คาย   1525                       2.  คาย  1883                        3.  ดูด  1525                          4.  ดูด  1883



19. (Ent.45 มี.ค.)  จากข้อมูลต่อไปนี้

พันธะ

พลังงานพันธะ(kJ/mol)

N-N

160

N=N

420

NN

940

N-H

390

H-H

430


        ในการเกิด N2H4(g) จากปฏิกิริยาต่อไปนี้

                H2(g) + N2(g)    N2H4(g)  (สมการยังไม่ดุล)

                จะมีการดูดหรือคายพลังงานกี่กิโลจูล/โมล

                1.  คายพลังงาน  80                              2.  ดูดพลังงาน  80

                3.  ดูดพลังงาน  700                              4.  คายพลังงาน  700



20.  (Ent.45 ต.ค.)  อัตนัย

                ในการเตรียม C2H2  จากแกรไฟต์  เกิดโดยผ่าน  2  ขั้นตอนดังนี้

                ขั้นที่  1      2C(แกรไฟต์)   2C(g)  คามร้อนของการกลายเป็นไอมีค่า  717  kJ/mol

                ขั้นที่  2      2C(g)  +  H2(g)    H-CC-H (g) 

                ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน  และพลังงานของปฏิกิริยามีค่ากี่กิโลจูลต่อโมล

                กำหนดให้พลังงานพันธะ      H-H    = 436   kJ/mol

                                                                C-H    =  414  kJ/mol

                                                                C C  =  837  kJ/mol



21.  (A-net.50)  กำหนดพลังงานพันธะเฉลี่ย (ในหน่วย kJ/mol) เป็นดังนี้

                 C-C   =   348                        C=C   =   614                        C-H   =   413

                H-Cl   =   431                        C-Cl   =   339

                พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้  คายพลังงานหรือดูดพลังงานกี่กิโลจูล/โมล

                          CH3-CH=CH2  +  HCl    CH3CH(Cl)CH3

                1.  ดูดพลังงาน  284                                2.  คายพลังงาน  284

                3.  ดูดพลังงาน  43                                                4.  คายพลังงาน  43


22.  (เคมีโอลิมปิค 46)     ปฏิกิริยาระหว่าง  C2H2  กับ  H2  ต่อไปนี้           ควรคายความร้อนกี่กิโลจูลต่อโมลของ  H2  

                C2H2  +  H2    C2H6  (สมการยังไม่ดุล) 

                กำหนดพลังงานพันธะ  (kJ/mol)          C-C  =  348                           C=C   =   614

                                CC = 839                      C-H   =   413                         H-H  =  436

                1.  124                                    2.  144.5                                                3.  257                    4.  289



23.  (Ent.47 ต.ค.)  อัตนัย

                A  เป็นธาตุหมู่  6  คาบ  2  และ  B  เป็นธาตุหมู่  7  คาบ  2 

                                A2(g) +  B2(g)    2AB  ;  ดูดพลังงาน  60  kJ

                                จงหาพลังงานพันธะ  A-B  ในหน่วย  kJ/mol

                                กำหนดพลังงานพันธะ  A-A  และ  B-B  เท่ากับ  500  และ   160  kJ/mol  ตามลำดับ


24.  (เคมีโอลิมปิค 43)  กำหนดพลังงานพันธะ  (kJ/mol)  ต่อไปนี้

                C-C   =  348                          C=C   =   614                        C-H   =   413

                C-O   =   358                         C=O   =   745                       O-H   =   463                         O=O  =   498

                เมื่อเปรียบเทียบพลังงานที่ได้จากการสันดาป  C2H6   1  โมล  และ  C2H4   1  โมล  ผลจะเป็นอย่างไร(ผลิตภัณฑ์จากการ
       สันดาปคือ  CO2  และไอน้ำ)

  1. C2H6  คายพลังงานมากกว่า  C2H4  117  kJ
  2. C2H6  คายพลังงานมากกว่า  C2H4  234  kJ
  3.  C2H4 คายพลังงานมากกว่า  C2H6  117  kJ
  4. C2H4 คายพลังงานมากกว่า  C2H6  234  kJ



25. Calculate the enthalpy of formation of CH3OH using the following bond energies. (C - H = 414 kJ; H - O = 463 kJ;
      O = O = 494, H - H = 435; C - O = 335). (Ans.b)
     (จงคำนวณหาพลังงานของปฏิกิริยาการเกิด  CH3OH จากพลังงาน พันธะที่กำหนดให้)                 
                              1/2O2(g) + 2 H2(g) + C(g)    CH3 - OH(g)
       a)   -740          b)   -923                 c)   -960                 d)   -667                 e)   -555



26.  The enthalpy change for the following reaction is 514 kJ. Calculate the average Cl - F bond energy. (Ans.b)
       ClF3(g)   Cl(g) + 3F(g)   (ถ้าพลังงานของปฏิกิริยาคือ  514 kJ  จงคำนวณหาพลังงานพันธะเฉลี่ยของ  Cl-F)
       a)   312           b)   171                  c)   88                     d)   514                  e)   1,542



27.  Calculate the enthalpy for the following reaction using the given bond energies. (C-H = 414 kJ; H - O = 463 kJ;
       H - Cl = 431, C - Cl = 326; C - O = 335). (Ans.b)  (จงคำนวณหาพลังงานของปฏิกิริยา จากพลังงานพันธะที่กำหนดให้)                  
                                            CH3 - OH(g) + HCl(g)  CH3 - Cl(g) + H2O(g)
        a)   -42           b)   -23                   c)   -36                   d)   -59                   e)   -511



28.  Calculate the Ho for the following reaction using the given bond energies. (H - N = 389 kJ; C - H = 414 kJ;
       H - H = 435, C Ξ N = 879; C - N = 293). (Ans.e)
       (จงคำนวณหา  Ho  ของปฏิกิริยาจาค่าพลังงานพันธะที่กำหนดให้)
                                                               HCN (g) + 2H2(g)    CH3 - NH2
        a)   -113         b)   -140                 c)   -135                 d)   -128                 e)   -150

 

  

29.  Using the following bond energies and H of NH3(g) = -46.19 kJ/mole, calculate the nitrogen-nitrogen bond  
       energy in N2(g). (H - H = 435 kJ, H - N = 386 kJ). (Ans.e)
       (จงคำนวณหาพลังงานพันธะระหว่างอะตอมของไนโตรเจนกับไนโตรเจนใน  N2  จากข้อมูลที่กำหนดให้ )
                                                      3 H2(g) + N2(g)    2 NH3(g)
        a)   811           b)   998                 c)   884                  d)   842                  e)   919




รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

Size : 69.97 KBs
Upload : 2012-12-12 21:19:43
ติชม

กำลังแสดงหน้า 1/0
<<
1
>>

ต้องการให้คะแนนบทความนี้่ ?

0
คะแนนโหวด
สร้างโดย :


K-Me
รายละเอียด Share
สถานะ : ผู้ใช้ทั่วไป
วิทยาศาสตร์


โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
70 หมู่ 2 แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ 10170
โทรศัพท์ 0 2441 3593 E-Mail:satriwit3@gmail.com


Generated 0.566542 sec.